การหย่าภรรยาขณะมีประจำเดือนจะฮารามและขาดกันหรือไม่?
สามีหย่าขณะมีประจำเดือน ฮารามและขาดกันหรือไม่?
การหย่าภรรยาขณะมีประจำเดือนจะฮารามและขาดกันหรือไม่?
ตอบ : การหย่าภรรยาขณะมีประจำเดือน ฮารามและขาดกัน เพราะทำให้อิดดะห์ของภรรยานั้นยาว เธอจะหมดอิดดะห์ เมื่อย่างเข้าประจำเดือนครั้งที่ 4 ดังท่านอับดุลเลาะห์บุตรของท่านอุมัร ได้ หย่าภรรยาขณะมีประจำเดือน ท่านอุมัรได้ รายงานเรื่องนี้ให้ท่านรอซูลุลเลาะห์ทราบ ท่านรอซูลุลเลาะห์ (ซ.ล.) จึงได้กล่าวกับท่านอุมัรว่า จงใช้บุตรของท่านรู่ยั๊วะ (กลับคืน) ดีกับภรรยา ของเขา ก็หมายถึงหย่าหนึ่ง หรือหย่า 2 ตอลาก ที่มีสิทธิรู่ยั๊วะได้ และหย่าใหม่ขณะที่ภรรยาตัวสะอาด (ปราศจากต่อการมีประจำเดือน) ถ้าแม้ว่ามีความต้องการหย่า
(บุยัยรีมีอาลั้ลคอเต็บ เล่มที่ 3 หน้าที่ 431)
จากหนังสือท่านถาม-เราตอบ สมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนมิฟตาห์ฯ
http://islamhouse.muslimthaipost.com/article/23459
- หย่าขณะภรรยาตั้งครรภ์ ฮารามหรือไม่?
- ความสุดยอดของการซูญุดสำหรับหญิงตั้งครรภ์
- ริสกีคนท้อง อิสลามกับการตั้งครรภ์ ผลบุญคนท้องมากกว่าคนไม่ท้องหรือไม่?
- อาบน้ำหลังมีเพศสัมพันธ์ มีคำเนียตอย่างไร สอนหน่อย
- ละหมาดเป็นประโยชน์ต่อผู้ตั้งครรภ์ แต่อันตรายต่อผู้มีประจำเดือน
- ครั้งแรกของผู้หญิง เลือดออกหลังมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก (อิสลาม)
- อาบน้ำละหมาดแล้วแต่งหน้าได้ไหม?
- ขั้นตอนอาบน้ำยกหะดัษใหญ่แบบท่านนบี(ซ.ล.)
- ผายลมทางช่องคลอด เสียน้ำละหมาดไหม