สอนละหมาดอิสติคอเราะฮฺ เรื่องแต่งงาน ดุอาอฺอิสติคอเราะฮฺ
การละหมาดอิสติคอเราะห์ คือ การขอทางเลือกจากอัลลอฮฺในการตัดสินใจเลือกเอาสิ่งหนึ่งจากหลายๆ สิ่งที่เป็นวาญิบหรือสิ่งที่เป็นสุนัต เมื่อมันเป็นสองสิ่งที่ตรงกันข้ามกัน... อ่านต่อ...
การละหมาดอิสติคอเราะห์ คือ การขอทางเลือกจากอัลลอฮฺในการตัดสินใจเลือกเอาสิ่งหนึ่งจากหลายๆ สิ่งที่เป็นวาญิบหรือสิ่งที่เป็นสุนัต เมื่อมันเป็นสองสิ่งที่ตรงกันข้ามกัน... อ่านต่อ...
ผมอยากทราบว่ามีโทษไหม สำหรับบุคคลที่ละหมาดท้ายเวลา/ล่าช้าในการฃะหมาด มีหลักฐานไหมครับ อ่านต่อ...
ละหมาดวันศุกร์ ผู้หญิง จำเป็นหรือไม่? การละหมาดวันศุกร์เป็นภารกิจจำเป็น เหนือบุคคลที่มีเงื่อนไขครบ 7 ประการดังต่อไปนี้.... อ่านต่อ...
ละหมาดซุบฮิได้ถึงกี่โมง ละหมาดซุบฮิ ช่วงเวลาละหมาด คือตั้งแต่เริ่มมีแสงที่ขอบฟ้าจนถึงพระอาทิตย์เริ่มขึ้น... อ่านต่อ...
ขาดละหมาด 1 วักตู (เวลา) อยากทราบคำกล่าวละหมาดชดใช้ ช่วยตอบที อ่านต่อ...
ละหมาดสําหรับคนเดินทาง เนียตว่าอย่างไร? มีเงือ่นอย่างไรบ้าง.... อ่านต่อ...
ละหมาดตะฮัจญุด มีวิธีเนียตละหมาดตะฮัจญุด อย่างไร? ละหมาดตะฮัจญุด คือ ระหว่างหลังละหมาดอีชา เรื่อยไปจนถึงรุ่งเช้าที่ดีที่สุด... อ่านต่อ...
คุณค่าละหมาดตะฮัดยุด ที่คุณไม่พลาดที่ได้รับ มีดังนี้... อ่านต่อ...
รูปแบบและวิธีการละหมาดสุนัตฮาญัต (เพื่อขอพรให้พระองค์ประทานให้ตามประสงค์) อ่านต่อ...
การละหมาดวันศุกร์ เป็นฟัรดูที่จำเป็นเฉพาะผู้ชายมุสลิมทุกคนที่เป็นอิสระ ไม่ใช่ทาส ซึ่งบรรลุนิติภาวะพร้อมทั้งสติสัมปชัญญะรู้สึกรับผิดชอบ... อ่านต่อ...
ละหมาดวันศุกร์ ไม่ถึง40คน ใช้ได้หรือไม่?.... อ่านต่อ...
หากมุสลิมชายที่บรรลุศาสนภาวะ เขาไม่มาละหมาดวันศุกร์ถึง 3 ครั้งด้วยกัน พระองค์จะประทับตราเขาให้เป็นบุคคลที่หลงลืม....อ่านซูเราะห์กะห์ฟี วันศุกร์ คุณค่าของซูเราะกะฟี อย่าลืมอ่านกัน!! อ่านต่อ...
การละหมาดรายออิดิลอัฎฮา มีรูปแบบและวิธีการปฎิบัติเหมือนกับการละหมาดอีดิ้ลฟิตรฺ โดยไม่มีการอะซานและอิกอมะห์ก่อนละหมาด อ่านต่อ...
ท้องแก่ นั่งละหมาด ได้มั้ย? ผู้หญิงตั้งครรภ์ หากไม่สามารถยืนได้จริง อนุโลมให้นั่งได้ นั่งบนเก้าอี้ หรือบนพื้นเพื่อต้องการสุญูด... อ่านต่อ...
กุนูต ในละหมาดซุบฮิ ถือเป็นบิดอะห์เลยหรือ? การอ่านดุอาอ์กุนูตในละหมาดซุบฮิ เป็นการมองต่างมุมของนักวิชาการในหะดีษบทเดียวกัน นักวิชาการบางท่านมองว่า... อ่านต่อ...
วิธีการละหมาดรายา สุนัตอีดิ้ลฟิตรี ลักษณะเหมือนกับละหมาดทั่วไป แตกต่างกันที่จำนวนการตักบีร... อ่านต่อ...
กียามุลลัยลฺ คือ การละหมาดสุนัตอย่างหนึ่งซึ่งอยู่ช่วงเวลาระหว่างเสร็จสิ้นการละหมาดอีชาอฺจนกระทั้งถึงละหมาดซุบฮฺ.... อ่านต่อ...
ช่วงเวลาละหมาดตะฮัจญุด เวลาที่ประเสริฐที่สุด คือ หนึ่งในสามช่วงแรกในส่วนที่สองของกลางคืน ทั้งนี้ให้แบ่งกลางคืนออกเป็นสองส่วนแล้วลุกขึ้นละหมาดช่วงหนึ่งในสาม.... อ่านต่อ...
หลายคนมักจะไม่รู้ว่า ต้องกล่าวอะไรในละหมาดญะนาซะห์ (ละหมาดคนตาย) .... อ่านต่อ...
การละหมาดวันศุกร์ตามอัลกุรอาน ระบุไว้ว่าอย่างไร? อ่านต่อ...
หากเราไม่อ่านฟาติฮะห์หลังจากอีหม่ามอ่านจบในละหมาดที่อ่านเสียงดัง ละหมาดใช้ได้หรือไม่? อ่านต่อ...
การละหมาดวันศุกร์ คืออะไร วิธีการละหมาดวันศุกร์ปฏิบัติอย่างไร มาทำความเข้าใจกันดีกว่า... อ่านต่อ...
<span>ถ้าในหมู่บ้านหนึ่งมีมุสลิมบางคนไม่เคยไปละหมาดวันศุกร์เลยจะฮูก่มว่าอย่างไรกับคนๆนี้ และอีหม่ามผู้นำศาสนาในหมู่บ้านวาญิบจะต้องทำหน้าที่ในการตักเตือนต่อบุคคลผู้นี้หรือไม่</span> อ่านต่อ...
หลายคนตื่นขึ้นละหมาดตะฮัจญุดตอนตีสามตีสี่ จากนั้นก็ไม่นอน แต่รอเข้าเวลาละหมาดซุบฮฺเลย อ่านต่อ...
ละหมาดอิสติคอเราะฮฺ คือ การละหมาด เพื่อขอให้ได้อย่างดี หรือขออัลลอฮ์ให้เลือกอย่างดีให้แก่เรา เช่น เมื่อคนหนึ่งคนใดจะทำงานที่ใหญ่โต หรืองานสำคัญ,เปลี่ยนงาน,แต่งงาน,เลือกคู่ ซุนนะฮฺให้ละหมาดอิสติคอเราะฮฺ 2 ร็อกอะฮฺ อ่านต่อ...
ท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้กล่าวไว้ความว่า “การละหมาดห้าเวลาและการละหมาดญุมอะฮฺ (ละหมาดวันศุกร์) หนึ่งไปยังอีกญุมอะฮฺหนึ่ง มีผลตอบแทนคืออัลลอฮฺจะทรงไถ่โทษ (ชำระบาป) ในสิ่งที่ไม่ไช่บาปใหญ่” (รายงานโดย มุสลิม) อ่านต่อ...
การสูยูดเกี่ยวข้องกับอวัยวะห้าส่วนที่ต้องสัมผัสกับพื้นดิน คือหน้าผาก จมูก ฝ่ามือทั้งสองข้าง หัวเข่า และปลายนิ้วเท้าทั้งสองข้าง อ่านต่อ...
การละหมาด หรือ สวด (นมาซ หรือ นมัสการ) การละหมาดหรือการนมัสการพระเจ้าคือการแสดงความเคารพต่อพระเจ้า เป็นการปฏิบัติเพื่อแสดงความภักดีต่อพระเจ้า เป็นการปฏิบัติเพื่อแสดงความภักดีต่อพระเจ้า การสำรวมจิตระลึกถึงพระเจ้า อ่านต่อ...
กรณีดังกล่าวอุละมาอฺส่วนใหญ่มีทรรศนะว่า "วาญิบต้องละหมาดชดโดยไล่เวลาตามลำดับเวลาละหมาดก่อน-หลัง" นั่นคือให้ละหมาดซุฮฺรี อัศรี มัฆริบ และละหมาดอิชาอฺตามลำดับ ดังหะดีษที่เล่าโดยท่านญาบิรฺ อิบนุ อับดิลลาฮฺ อ่านต่อ...
All right reserved by MUSLIMTHAIPOST